วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2551

เรื่องประหลาด




ชายที่เตี้ยที่สุดในโลก และผู้หญิงที่ขายาวที่สุดในโลก

เหอ ผิงผิง ชาวจีนจากมณฑลมองโกเลียใน ซึ่งได้รับการบันทึกในหนังสือบันทึกสถิติกินเนสส์บุ๊ก ว่าเป็นมนุษย์ที่เตี้ยที่สุดในโลก กำลังนั่งอยู่ระหว่างขาของ สเวเทียนา พันกราโทวา ผู้หญิงขายาวที่สุดในโลกที่จตุรัสทราฟัลการ์ ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 16 กันยายน โดยผิงผิงมีความสูงเพียง 2 ฟุต 5.37 นิ้ว ส่วนพันกราโทวามีขายาว 4 ฟุต 4 นิ้ว





30 วิธีหยุดโลกร้อน














1.ลดการใช้พลังงานในบ้านด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้นับ 1 พันปอนด์ต่อปี
2.ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนด์บาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน์ เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและอุปกรณ์พ่วงต่างๆ ที่ติดมาด้วยการดึงปลั๊กออก หรือใช้ปลั๊กเสียบพ่วงที่ตัดไฟด้วยตัวเอง

3.เปลี่ยนหลอดไฟ เป็นหลอดไฟประหยัดพลังงานแบบขดที่เรียกว่า Compact Fluorescent Lightbulb (CFL) เพราะจะกินไฟเพียง 1 ใน 4 ของหลอดไฟเดิม และมีอายุการใช้งานได้นานกว่าหลายปีมาก

4.เปลี่ยนไปใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟที่สว่างกว่าและประหยัดกว่าหลอดปกติ 40% สามารถหาซื้อหลอดไฟ LED ที่ใช้สำหรับโคมไฟตั้งโต๊ะและตั้งพื้นได้ด้วย จะเหมาะกับการใช้งานที่ต้องการให้มีแสงสว่างส่องทาง เช่น ริมถนนหน้าบ้าน การเปลี่ยนหลอดไฟจากหลอดไส้จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 150 ปอนด์ต่อปี






5.ช่วยกันออกความเห็นหรือรณรงค์ให้รัฐบาลพิจารณาข้อดีข้อเสียของการเรียกเก็บภาษีคาร์บอนกับภาคการผลิต ตามอัตราการใช้ไฟฟ้าที่ผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิลรูปแบบต่างๆ หรือการใช้ก๊าซโซลีน เป็นรูปแบบการใช้ภาษีทางตรงที่เชื่อว่า หากโรงงานต้องจ่ายค่าภาษีแพงขึ้นก็จะลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในกระบวนการผลิตลง ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการปล่อย CO2 ลงได้ประมาณ 5%

6.ขับรถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ด้วยการปั่นจักรยาน ใช้รถโดยสารประจำทาง หรือใช้การเดินแทนเมื่อต้องไปทำกิจกรรมหรือธุระใกล้ๆ บ้าน เพราะการขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ำมันลดลง และลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย เพราะน้ำมันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 20 ปอนด์

7.ไปร่วมกันประหยัดน้ำมันแบบ Car Pool นัดเพื่อนร่วมงานที่มีบ้านอาศัยใกล้ๆ นั่งรถยนต์ไปทำงานด้วยกัน ช่วยประหยัดน้ำมัน และยังเป็นการลดจำนวนรถติดบนถนน ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทางอ้อมด้วย
8.จัดเส้นทางรถรับส่งพนักงาน ถ้าในหน่วยงานมีพนักงานจำนวนมากอาศัยอยู่ในเส้นทางใกล้ๆ กัน ควรมีสวัสดิการจัดหารถรับส่งพนักงานตามเส้นทางสำคัญๆ เป็น Car Pool ระดับองค์กร
9.เปิดหน้าต่างรับลมแทนเปิดเครื่องปรับอากาศ ลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้ไฟฟ้าเพื่อเปิดเครื่องปรับอากาศ

10.มองหาผลิตภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น ป้ายฉลากเขียว ประหยัดไฟเบอร์ 5 มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพสินค้าเกษตรอินทรีย์ เพราะการจะได้ใบรับรองนั้น จะต้องมีการประเมินสินค้าตั้งแต่เริ่มต้นหาวัตถุดิบ

11.ไปตลาดสดแทนซูเปอร์มาร์เก็ตบ้าง ซื้อผัก ผลไม้ หมู ไก่ ปลา ในตลาดสดใกล้บ้าน แทนการช็อปปิ้งในซูเปอร์มาร์เก็ตบ้าง ที่อาหารสดทุกอย่างมีการ***บห่อด้วยพลาสติกและโฟม ทำให้เกิดขยะจำนวนมาก
12.เลือกซื้อเลือกใช้ เมื่อต้องซื้อรถยนต์ใช้ในบ้าน หรือรถยนต์ประจำสำนักงานก็หันมาเลือกซื้อรถประหยัดพลังงาน รวมทั้งเลือกอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีฉลากประหยัดไฟ ทั้งในบ้านและอาคารสำนักงาน
13.เลือกซื้อรถยนต์ที่มีขนาดตามความจำเป็น โดยพิจารณาจากขนาดครอบครัวและประโยชน์การใช้งาน รวมทั้งพิจารณารุ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด เพื่อเปรียบเทียบราคา

14.ไม่จำเป็นก็ไม่ต้องเลือกรถโฟว์วีลขับเคลื่อนแบบ 4 ล้อ เพราะกินน้ำมันมาก และตะแกรงขนสัมภาระบนหลังคารถก็ไม่ใช่สิ่งจำเป็น เพราะเป็นการเพิ่มน้ำหนักรถให้เปลืองน้ำมัน
15.ขับรถอย่างมีประสิทธิภาพ ในระยะทางไกลการขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะช่วยลดการใช้น้ำมันลงได้ 20% หรือคิดเป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดได้ 1 ตันต่อรถยนต์แต่ละคันที่ใช้งานราว 3 หมื่นกิโลเมตรต่อปี

16.ขับรถเที่ยวไปลดคาร์บอนไดออกไซด์ไปพร้อมกัน เพราะมีบริษัทเช่ารถใหญ่ๆ 2-3 รายมีรถรุ่นเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ใช้เอทานอล หรือน้ำมันเชื้อเพลิงทางเลือกอื่นๆ ด้วย ลองสอบถามบริษัทรถเช่าเมื่อเดินทางไปถึง17.เลือกใช้บริการโรงแรมที่มีสัญลักษณ์สิ่งแวดล้อม เช่น มีมาตรการประหยัดน้ำ ประหยัดพลังงาน และมีระบบจัดการของเสีย มองหาป้ายสัญลักษณ์ เช่น โรงแรมใบไม้สีเขียว มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพ18 เช็กลมยาง การขับรถที่ยางลมมีน้อยอาจทำให้เปลืองน้ำมันได้ถึง 3% จากภาวะปกติ19.เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล เอทานอล ให้มากขึ้น20 โละทิ้งตู้เย็นรุ่นเก่า ตู้เย็นที่ผลิตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เพราะใช้ไฟฟ้ามากเป็น 2 เท่าของตู้เย็นสมัยใหม่ที่มีคุณภาพสูง ซึ่งช่วยประหยัดค่าไฟลงได้มาก และลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 100 กิโลกรัมต่อปี

17.เลือกใช้บริการโรงแรมที่มีสัญลักษณ์สิ่งแวดล้อม เช่น มีมาตรการประหยัดน้ำ ประหยัดพลังงาน และมีระบบจัดการของเสีย มองหาป้ายสัญลักษณ์ เช่น โรงแรมใบไม้สีเขียว มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพ

18 เช็กลมยาง การขับรถที่ยางลมมีน้อยอาจทำให้เปลืองน้ำมันได้ถึง 3% จากภาวะปกติ

19.เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล เอทานอล ให้มากขึ้น

20 โละทิ้งตู้เย็นรุ่นเก่า ตู้เย็นที่ผลิตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เพราะใช้ไฟฟ้ามากเป็น 2 เท่าของตู้เย็นสมัยใหม่ที่มีคุณภาพสูง ซึ่งช่วยประหยัดค่าไฟลงได้มาก และลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 100 กิโลกรัมต่อปี

21.ยืดอายุตู้เย็นด้วยการใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงานให้ตู้เย็นด้วยการใช้อย่างฉลาด ไม่นำอาหารร้อนเข้าตู้เย็น หลีกเลี่ยงการนำถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น เพราะจะทำให้ตู้เย็นจ่ายความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร ควรย้ายตู้เย็นออกจากห้องที่ใช้เครื่องปรับอากาศ ละลายน้ำแข็งที่เกาะในตู้เย็นเป็นประจำ เพราะตู้เย็นจะกินไฟมากขึ้นเมื่อมีน้ำแข็งเกาะ และทำความสะอาดตู้เย็นทุกสัปดาห์

22.ริเริ่มใช้พลังงานทางเลือกในอาคารสำนักงาน เช่น ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เพื่อใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเฉพาะจุด

23.ใช้แสงแดดให้เป็นประโยชน์ ในการตากเสื้อผ้าที่ซักแล้วให้แห้ง ไม่ควรใช้เครื่องปั่นผ้าแห้งหากไม่จำเป็น เพื่อประหยัดการใช้ไฟฟ้า

24.ใช้น้ำประปาอย่างประหยัด เพราะระบบการผลิตน้ำประปาของเทศบาลต่างๆ ต้องใช้พลังงานจำนวนมากในการทำให้น้ำสะอาด และดำเนินการจัดส่งไปยังอาคารบ้านเรือน

25.ติดตั้งฝักบัวอาบน้ำที่ปรับความแรงน้ำต่ำๆ ได้ เพื่อจะได้เปลืองน้ำอุ่นน้อยๆ (เหมาะทั้งในบ้านและโรงแรม)

26.ติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าและลดปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากโรงผลิตกระแสไฟฟ้า

27.สร้างนโยบาย 3Rs- Reduce, Reuse, Recycle ทั้งในบ้านและอาคารสำนักงาน เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างเต็มที่ เป็นการลดพลังงานในการกำจัดขยะ ลดมลพิษและลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการกำจัด

28.ป้องกันการปล่อยก๊าซมีเทนสู่บรรยากาศ ด้วยการแยกขยะอินทรีย์ เช่น เศษผัก เศษอาหาร ออกจากขยะอื่นๆ ที่สามารถนำไปรีไซเคิลได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์

29.ทาหลังคาบ้านด้วยสีอ่อน เพื่อช่วยลดการดูดซับความร้อน

30.นำแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารบ้านเรือน โดยใช้การออกแบบบ้าน และตำแหน่งของช่องแสงเป็นปัจจัย ซึ่งจะช่วยลดจำนวนหลอดไฟและพลังงานไฟฟ้าที่ต้องใช้



















































วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2551

Croissant


Croissant






A croissant (IPA: [kʁwasɑ̃] listen (help·info), anglicised variously as IPA: /krəˈsɑːnt/, /kwɑːˈsɑːn/, etc.) is a buttery flaky pastry, named for its distinctive crescent shape. It is also sometimes called a crescent[1] or crescent roll:
"On a small table at her side a tray had been left, with the remains of dejeuner; a jug stained brown with streaks of coffee; a crumbled crescent roll..."
[2]
Crescent-shaped breads have been made since the Middle Ages[
citation needed], and crescent-shaped cakes (imitating the often-worshiped Moon) possibly since classical times:
Hebrew women, in the time of Jeremiah, made in honor of the pagan goddess
Astarte (queen of heaven, queen of the moon) cakes, probably in the form of a crescent. [3]
Croissants are made of a leavened variant of
puff pastry by layering yeast dough with butter and rolling and folding a few times in succession, then rolling. Making croissants by hand requires skill and patience; a batch of croissants can take several days to complete. However, the development of factory-made, frozen, pre-formed but unbaked dough has made them into a fast food which can be freshly baked by unskilled labor. Indeed, the croissanterie was explicitly a French response to American-style fast food. This innovation, along with the croissant's versatility and distinctive shape, has made it the best-known type of French pastry in much of the world. In many parts of the United States, for example, the croissant (introduced at the fast food chains Arby's in the United States and Tim Hortons in Canada in 1983) has come to rival the long-time favorite doughnuts[citation needed].






Origin
Fanciful stories of how the bread was created are modern culinary legends. These include tales that it was invented in Poland to celebrate the defeat of a Muslim invasion at the decisive Battle of Tours by the Franks in 732, with the shape representing the Islamic crescent; that it was invented in Vienna in 1683 to celebrate the defeat of the Turkish siege of the city, as a reference to the crescents on the Turkish flags, when bakers staying up all night heard the tunneling operation and gave the alarm; tales linking croissants with the kifli and the siege of Buda in 1686; and those detailing Marie Antoinette's hankering after a Viennese specialty.
Several points argue against the connection to the Turkish invasion or to Marie-Antoinette: saving the city from the Turks would have been a major event, yet the incident seems to be only referenced by food writers (writing well after the event), and Marie-Antoinette - a closely watched monarch, with a great influence on fashion - could hardly have introduced a unique foodstuff without writers of the period having commented on it. Those who claim a connection never quote any such contemporary source; nor does an aristocratic writer, writing in 1799, mention the pastry in a long and extensive list of breakfast foods.
[4]
Alan Davidson, editor of the Oxford Companion to Food states that no printed recipe for the present-day croissant appears in any French recipe book before the early 20th century; the earliest French reference to a croissant he found was among the "fantasy or luxury breads" in Payen's Des substances alimentaires, 1853.



BAGUETTE









Baguette
History
The baguette is a descendant of the bread developed in Vienna in the mid-19th century when steam ovens were first brought into use, helping to make possible the crisp crust and the white crumb pitted with holes that still distinguish the modern baguette. Long loaves had been made for some time but in October 1920 a law prevented bakers from working before 4am, making it impossible to make the traditional, often round loaf in time for customers' breakfasts. The slender baguette solved the problem because it could be prepared and baked much more rapidly. [1]
Baguettes are closely connected to France and especially to Paris, though they are made around the world. In France, not all long loaves are baguettes; for example, a short loaf is a bâtard, a standard thicker stick is a flûte (also known in the United States as a parisienne), and a thinner loaf is a ficelle. (French breads are also made in forms such as a miche, which is a large pan loaf, and a boule, which is a round loaf similar to some peasant breads.)
Baguettes, either relatively short single-serving size or cut from a longer loaf, are very often used for
sandwiches (usually of the submarine sandwich type, but also panini); sandwich-sized loaves are sometimes known as demi-baguettes, tiers, or sometimes "Rudi rolls". Baguettes are often sliced and served with pâté or cheeses. As part of the traditional continental breakfast in France, slices of baguette are spread with jam and dunked in bowls of coffee or hot chocolate. In the United States, baguettes are sometimes split in half to make French bread pizza.
According to a joke, French law bans walking more than seven paces from a
boulangerie without pinching and tasting a just-bought baguette. The joke states that the penalty for this offense is unknown, because it is a law no one has ever been able to break.


Manufacture and styles
French
food laws define bread as a product containing only the following four ingredients: water, flour, yeast, and common salt[2]; the addition of any other ingredient to the basic recipe requires the baker to use a different name for the final product. As a result, the traditional baguette is made from a very lean dough, made from a moderately soft flour. While a typical baguette is made with a direct addition of baker's yeast, it is not unusual for artisan-style loaves to be made with a poolish or other bread pre-ferment to increase flavor complexity, as well as the addition of whole wheat flour and other grains such as rye. French bread is required by law to avoid preservatives, and as a result baguettes quite frequently go stale within a day of being baked.
Baguettes are generally made as partially free-form loaves, with the loaf formed with a series of folding and rolling motions, raised in cloth-lined baskets or in rows on a flour-impregnated towel, and baked either directly on the hearth of an oven or in special perforated pans designed to hold the shape of the baguette while allowing heat through the perforations.
Outside France, baguettes are also made with other doughs; for example, the
Vietnamese bánh mì uses a high proportion of rice flour, while many United States bakeries make whole wheat, multigrain, and sourdough baguettes alongside traditional French-style loaves. In addition, even classical French-style recipes vary from place to place, with some recipes adding small amounts of milk, butter, sugar, or malt extract